ค่าเงินบาทแข็ง VS ค่าเงินบาทอ่อน ใครได้ใครเสีย?

1 ก.ค. 2562 เวลา 22:10 | อ่าน 13,003
แชร์ไปยัง
L
 

ค่าเงินบาทหรืออัตราแลกเปลี่ยนระหว่างเงินบาทเทียบกับเงินสกุลต่าง

ประเทศ มีการเปลี่ยนแปลงตามภาวะตลาด เช่น ในช่วงที่ค่าเงินบาทแข็ง เราอาจใช้เงินบาทเพียง 32 บาท เพื่อแลกเงิน 1 ดอลลาร์สหรัฐ แต่ในบางช่วงเวลาที่ค่าเงินบาทอ่อน เราต้องใช้เงินบาทเพิ่มเป็น 34 บาท เพื่อแลกเงิน 1 ดอลลาร์สหรัฐ

เงินบาทแข็งค่า เงินบาทอ่อนค่า

การแข็งค่าหรืออ่อนค่าของเงินบาท จะส่งผลกระทบโดยตรงต่อผู้ส่งออก ผู้นำเข้า นักลงทุน และผู้ที่กู้เงินตราต่างประเทศ ซึ่งมีทั้งผู้ที่ได้ และเสียประโยชน์เสมอ

การดูแลค่าเงินบาทจึงต้องพิจารณาผลกระทบให้รอบด้าน และเป็นไปไม่ได้เลยที่แบงก์ชาติจะทำการฝืนตลาดเพื่อทำให้ค่าเงินบาทอ่อนหรือแข็งค่า

การเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน จะเป็นไปตามกลไกตลาด ทั้งนี้ แบงก์ชาติจะดูแลค่าเงินบาทไม่ให้ผันผวนมากจนส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจครับ


ค่าเงินบาทแข็ง คือ การใช้เงินบาทน้อยลงในการแลกเปลี่ยนเงินสกุลอื่นในจำนวนเท่าเดิม

ใครได้ประโยชน์ ?

ผู้นำเข้า ลดต้นทุนการนำเข้าสินค้า เพราะราคาสินค้าจากต่างประเทศถูกลง

ประชาชน ซื้อสินค้าและบริการจากต่างประเทศได้ถูกลง

ผู้ลงทุน นำเข้าสินค้าทุนได้ถูกลง เช่น เครื่องจักร อุปกรณ์ต่าง ๆ

ผู้เป็นหนี้กับต่างประเทศ มีภาระหนี้ลดลง เพราใช้เงินบาทน้อยลงในการชำระหนี้สกุลเงินต่างประเทศ

ใครเสียประโยชน์

ผู้ผู้สงออก นำรายได้ที่เป็นเงินสกุลต่างประเทศมาแลกเป็นเงินบาทได้น้อยลง

ผู้คนทำงานต่างประเทศ นำรายได้ที่เป็นเงินสกุลต่างประเทศมาแลกเป็นเงินบาทได้น้อยลง

ผู้ผู้ประกอบการธุรกิจท่องเที่ยวที่รับเงินสกุลต่างประเทศ นำรายได้มาแลกเป็นเงินบาทได้น้อยลง

เงินบาทอ่อน คือ การใช้เงินบาทมากขึ้นในการแลกเงินสกุลอื่นในจำนวนเท่าเดิม

ใครได้ประโยชน์?


ผู้ผู้ส่งออก นำรายได้ทีเป็นเงินสกุลต่างประเทศมาแลกเป็นเงินบาทได้มากขึ้น

ผู้คนทำงานต่างประเทศ นำรายได้ที่เป็นเงินสกุลต่างประเทศมาแลกเป็นเงินบาทได้มากขึ้น

ผู้ผู้ประกอบการธุรกิจท่องเที่ยวที่รับเงินสกุลต่างประเทศ นำรายได้มาแลกเป็นเงินบาทได้มากขึ้น

ใครเสียประโยชน์?


ผู้ผู้นำเข้า เพิ่มต้นทุนการนำเข้าสินค้า เพราะราคาสินค้าจากต่างประเทศแพงขึ้น

ผู้ประชาชน ซื้อสินค้าและบริการจากต่างประเทศแพงขึ้น

ผู้ผู้ลงทุน นำเข้าสินค้าทุนแพงขึ้น เช่น เครื่องจักร อุปกรณ์ต่าง ๆ

ผู้ผู้เป็นหนี้กับต่างประเทศ มีภาระหนี้เพิ่มขึ้น เพราะใช้เงินบาทมากขึ้นในการชำระหนี้สกุลเงินต่างประเทศ


เงินบาทแข็งค่า เงินบาทอ่อนค่า

ข้อมูลจาก ธนาคารแห่งประเทศไทย

1 ก.ค. 2562 เวลา 22:10 | อ่าน 13,003


รีวิวบ้านใหม่ ไอเดียสร้างบ้าน
 
แชร์
L
ซ่อน
แสดง
มาใหม่
นายกฯ ขอบคุณสมาคมธนาคารไทย หั่นดอกเบี้ยลูกค้ารายย่อยชั้นดี (MRR) ลง 0.25% เป็นเวลา 6 เดือน เพื่อลดภาระดอกเบี้ยให้กลุ่มเปราะบาง ทั้งลูกค้าบุคคล และ SME
136 25 เม.ย. 2567
รัฐบาลเชิญชวน ผู้กู้ยืม กยศ. ถูกดำเนินคดีในปี 2557 ที่ยังมีภาระหนี้ค้าง เข้าร่วมโครงการปรับโครงสร้างหนี้ เพื่อขยายระยะเวลาชำระหนี้ ปลดภาระผู้ค้ำประกัน
229 25 เม.ย. 2567
การขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำ 400 บาท ทั่วประเทศ รัฐบาลไม่ได้นิ่งนอนใจ พิจารณาอย่างเหมาะสมและรอบคอบ เผย 14 พ.ค. นี้ คกก. ค่าจ้างฯ เตรียมประชุมพิจารณาค่าแรงขั้นต่ำทั่วประเทศ
256 25 เม.ย. 2567
เพิ่มเบี้ยหวัดบำนาญ 11,000 บาท พระราชกฤษฎีกาเงินช่วยค่าครองชีพผู้รับเบี้ยหวัดบำนาญ (ฉบับที่ 17) พ.ศ. 2567
361 22 เม.ย. 2567
ดวงกับดาวประจำวันที่ 21-27 เมษายน 2567
370 21 เม.ย. 2567
เงื่อนไข คุณสมบัติ ครอบครัวอุปถัมภ์ผู้สูงอายุ มีสิทธิได้รับเงินเดือนละ 3,000 บาท เริ่มยื่นเดือนพฤษภาคมนี้ เป็นต้นไป
697 19 เม.ย. 2567
ก.พ. เพิ่มอัตราเงินข้าราชการบรรจุใหม่ และข้าราชการเก่า ตรวจสอบคุณสมบัติได้ที่นี่
1,378 15 เม.ย. 2567
รถไม่ค่อยวิ่ง ควรเปลี่ยนน้ำมันเครื่องตอนไหนดี ?
74 13 เม.ย. 2567
นายกฯ ย้ำโครงการเติมเงิน 10,000 บาท ผ่าน Digital Wallet เป็นประโยชน์ต่อประชาชน โปร่งใส ตรวจสอบได้ พร้อมกระตุ้นเศรษฐกิจ กระจายรายได้ถึงพี่น้องประชาชนระดับท้องถิ่นและชุมชน
93 12 เม.ย. 2567
สุริยะ รับข้อสั่งการนายกฯ อำนวยความสะดวกการเดินทางของประชาชนช่วงสงกรานต์ 2567 “สะดวก-รวดเร็ว-ปลอดภัย เผยการเดินทางวันแรก (11 เม.ย. 2567) พบการเดินทางคึกคัก อุบัติเหตุลดลง
759 12 เม.ย. 2567
ดูเพิ่มเติม
 
หาเพื่อนไลน์
ซื้อขายรถบ้าน.com
เรียนภาษาอังกฤษออนไลน์
หางานราชการ
  English
TOEIC กับ การขึ้นเงินเดือน GED VS กศน ไทย (สอบเทียบไทย) แนะนำที่เรียน IELTS ยอดนิยม ของ เด็กอินเตอร์ TOEIC Online GED CU-TEP SAT
 
บทความกลุ่มเดียวกัน