อยากจับผิดแบงก์ปลอมต้องดูตรงไหน....มีหลายจุดเลยนะครับ

16 ก.ย. 2564 เวลา 17:41 | อ่าน 639
 
อยากรู้จักจุดสังเกตแบงก์พันที่ดูได้แบบง่าย ๆ เร็ว ๆ...ขอให้นึกถึง
“แถบสีในเนื้อกระดาษ”

อยากจับผิดแบงก์ปลอมต้องดูตรงไหน

วันนี้เรามารู้จัก “แถบสีทอง” ของธนบัตร 1000 บาท แบบปัจจุบันกันครับ

1. เป็นพลาสติกสีทองที่ฝังไว้ในเนื้อกระดาษตามแนวตั้งของธนบัตร จึงเรียกว่า “แถบสีทอง”

2. ในมุมปกติจะมองเห็นเป็นเส้นประแต่เมื่อส่องกับแสงจะเห็นเป็นเส้นตรงและมีข้อความ “1000 บาท 1000 BAHT”

3. เมื่อพลิกเปลี่ยนมุมมองจะเปลี่ยนจากสีทองเป็นสีเขียว และลวดลายในแถบจะกลิ้งเคลื่อนไหวไปมาได้

4. แถบสีอาจมีรอยขูดขีด หลุดลอกชำรุดจากการใช้งานได้

5. แถบสีที่อยู่ในเนื้อกระดาษธนบัตรแต่ละฉบับสามารถอยู่ในตำแหน่งที่ไม่ตรงกันได้ โดยอาจเลื่อนไปทางซ้ายหรือขวา ตามระยะที่มาตรฐานกำหนดไว้

อยากจับผิดแบงก์ปลอมต้องดูตรงไหน
อยากจับผิดแบงก์ปลอมต้องดูตรงไหน
อยากจับผิดแบงก์ปลอมต้องดูตรงไหน

รู้จักกันแล้วอย่าลืมจดจำและนำไปใช้นะครับ แถบสีมีประโยชน์สังเกตง่าย แต่เพื่อความปลอดภัยควรตรวจสอบจุดอื่นเพิ่มเติมด้วยอย่างน้อย 3 จุด นะครับ


ข้อมูลจาก ธนาคารแห่งประเทศไทย

16 ก.ย. 2564 เวลา 17:41 | อ่าน 639


รีวิวบ้านใหม่ ไอเดียสร้างบ้าน
 
แชร์
L
ซ่อน
แสดง
มาใหม่
ดวงกับดาวประจำวันที่ 8-14 กันยายน 2567
55 9 ก.ย. 2567
คำไทยน่ารู้ ความหมายของคำว่า เกษียณ เกษียร เกษียน ใช้อย่างไร
30 4 ก.ย. 2567
เคาะเพิ่มเงินสงเคราะห์บุตร อายุ 0-6 ปี จาก 800 บาท เป็น 1,000 บาท
233 1 ก.ย. 2567
ดีอี เตือน ข่าวปลอม “กรุงไทยปล่อยสินเชื่อผ่านบัญชี TikTok” พบ “โจรออนไลน์” เปิด 4 บัญชีปลอม ลวงดึงข้อมูล -ดูดเงิน ปชช.
69 1 ก.ย. 2567
ลมยางควรเติมบ่อยแค่ไหน เติมเท่าไหร่ดี
46 1 ก.ย. 2567
ดวงกับดาวประจำวันที่ 1-7 กันยายน 2567
508 1 ก.ย. 2567
บัตรทอง “ทำฟันฟรี” แค่มีบัตรประชาชนใบเดียว
87 31 ส.ค. 2567
วัยเก๋าไม่โดนลวง สื่อสุขภาพแบบดิจิตอล เข้าถึงเพียงปลายนิ้ว ต้องรู้ให้เท่าทัน
67 31 ส.ค. 2567
สัญญาณเตือนของภาวะสมองเสื่อมระยะแรก
76 31 ส.ค. 2567
ดวงกับดาวประจำวันที่ 25-31 สิงหาคม 2567
793 25 ส.ค. 2567
ดูเพิ่มเติม
 
หาเพื่อนไลน์
ไอเดียบ้านสวย
เรียนภาษาอังกฤษออนไลน์
หางานราชการ
  English
TOEIC กับ การขึ้นเงินเดือน GED VS กศน ไทย (สอบเทียบไทย) แนะนำที่เรียน IELTS ยอดนิยม ของ เด็กอินเตอร์ TOEIC Online GED CU-TEP SAT
 
บทความกลุ่มเดียวกัน